สร้างความสวยงามให้พื้นที่ สร้างสรรค์ลวดลายและสีสันของทุกพื้นที่มุมโปรดได้หลากหลายไร้ขีดจำกัด ด้วยการออกแบบที่ผสมผสานกันได้อย่างลงตัว
คอนกรีตเนื้อแน่น ไม่แตกร้าว ไม่บิ่น สีของผิวหน้าสม่ำเสมอ คอนกรีตบล็อก ชนิดความหนาชั้นผิวหน้าไม่น้อยกว่า 5 มม.
• ทนทาน แข็งแรง
ผลิตจากคอนกรีตที่ได้มาตราฐาน ทั้งส่วนผสมและคุณภาพวัตถุดิบ ผ่านกรรมวิธีการผลิตที่ทันสมัย เครื่องจักรมีกำลังอัดสูง คอนกรีตจึงอัดแน่นเป็นเนื้อเดียวกัน ทำให้เข็งแรง ทนทานรับน้ำหนักได้เทียบเท่ากับพื้นคอนกรีต
• สะดวกต่อการติดตั้ง
ติดตั้งง่าย สะดวกรวดเร็ว ประหยัดเวลา และสามารถใช้งานได้ทันทีที่ติดตั้งเสร็จ
• ง่ายต่อการดูแลรักษา
บำรุงรักษาง่าย สามารถทำการซ่อมแซมเฉพาะจุดได้ และยังสามารถนำกลับมาใช้งานได้ใหม่อีกครั้ง ในกรณีที่ต้องการปรับปรุงพื้นที่
99 กก.
ซีเมนต์
1.เตรียมพื้นดิน โดยขุดเปิดหน้าดินลึกประมาณ 10-15 ซม. และกำจัดขยะหรือหญ้าออกจากพื้นที่ให้หมด
2.ปรับระดับ โดยปรับพื้นที่ที่จะปูบล็อกให้เรียบสม่ำเสมอ และ ตบอัดด้วยเครื่องตบอัดให้แน่นเพื่อป้องกันการเกิดปัญหาสินค้าทรุดตัวหลังการใช้งาน
3.วางขอบ โดยสามารถเลือกได้ทั้งขอบคันหิน ขอบตกแต่ง หรือ ขอบฝังดิน ในบริเวณขอบของพื้นที่เพื่อกำหนดขอบเขตและป้องกันการแยกตัวของแนวบล็อก
4.ใช้ทรายหยาบเทปรับระดับพื้นอีกครั้งให้มีความหนาเมื่อตบอัดแล้วประมาณ 3-4 ซม. และ ใช้เครื่องตบอัด ตบให้แน่นทั่วบริเวณ
5.เริ่มปูบล็อก โดยทำการปูบล็อกเริ่มจากมุมใดมุมหนึ่ง หรือ จุดกึ่งกลาง (กรณีลายวงกลม) และ ต้องมีการคัดแนวเป็นระยะๆ ทุกๆ 10-15 ตร.ม.
6.เมื่อปูบล็อกเต็มพื้นที่แล้วให้โรยทรายละเอียดลงในช่องว่างระหว่างก้อนบล็อกให้เต็ม แล้วใช้เครื่องตบอัด
7.ลงน้ำยาเคลือบผิวบล็อก (ลงน้ำยาประสานทรายในบริเวณร่องบล็อก) ในบริเวณร่องบล็อก เพื่อให้ทรายและก้อนบล็อกยึดติดกัน ไม่ฟุ้งกระจายเมื่อมีลมพัด และ ช่วยทำให้บล็อกมีความคงทนแข็งแรงด้วย หลังจากนั้นทิ้งไว้จนแห้งแล้วจึงลงน้ำยาเคลือบเงาผิวคอนกรีตเพื่อสร้างความสดใสให้กับผิวบล็อก
สำหรับการปูพื้นที่ต้องรับน้ำหนัก เช่น ที่จอดรถ , ทางรถวิ่งผ่าน
◦พื้นเดิมต้องเป็นพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก
◦ใช้สายเอ็นในการกำหนดระดับพื้น และแนวในการปูแผ่นกระเบื้อง โดยขึงสายเอ็นให้ได้ระดับตามแบบที่กำหนด
◦เทปูนทราย (Mortar) ในบริเวณพื้นที่ที่ต้องการ ปู เกลี่ย และ ปาดให้เสมอ เพื่อใช้ปรับระดับแผ่นให้เสมอกัน
◦เริ่มปูแผ่นแรกตรงจุดที่กำหนดตามแนวเส้นเอ็นที่ทำมุมฉากไว้ และ ปูแผ่นต่อไปตามแนวเส้นเอ็นทั้งแนวตั้งและแนวนอน เพื่อใช้เป็นแนวหลัก การปูให้ปูชนชิดไม่ต้องยาแนว
◦ตรวจสอบระยะทุกๆ แนวในการปู
◦ลงน้ำยาเคลือบเงาผิวคอนกรีตเพื่อสร้างความสดใสให้กับผิวกระเบื้องคอนกรีต นอกจากนี้ยังช่วยให้การดูแลรักษาความสะอาดผิวกระเบื้องคอนกรีตง่ายขึ้นอีกด้วย
ขายแล้ว 801
สร้างความสวยงามให้พื้นที่ สร้างสรรค์ลวดลายและสีสันของทุกพื้นที่มุมโปรดได้หลากหลายไร้ขีดจำกัด ด้วยการออกแบบที่ผสมผสานกันได้อย่างลงตัว
คอนกรีตเนื้อแน่น ไม่แตกร้าว ไม่บิ่น สีของผิวหน้าสม่ำเสมอ คอนกรีตบล็อก ชนิดความหนาชั้นผิวหน้าไม่น้อยกว่า 5 มม.
• ทนทาน แข็งแรง
ผลิตจากคอนกรีตที่ได้มาตราฐาน ทั้งส่วนผสมและคุณภาพวัตถุดิบ ผ่านกรรมวิธีการผลิตที่ทันสมัย เครื่องจักรมีกำลังอัดสูง คอนกรีตจึงอัดแน่นเป็นเนื้อเดียวกัน ทำให้เข็งแรง ทนทานรับน้ำหนักได้เทียบเท่ากับพื้นคอนกรีต
• สะดวกต่อการติดตั้ง
ติดตั้งง่าย สะดวกรวดเร็ว ประหยัดเวลา และสามารถใช้งานได้ทันทีที่ติดตั้งเสร็จ
• ง่ายต่อการดูแลรักษา
บำรุงรักษาง่าย สามารถทำการซ่อมแซมเฉพาะจุดได้ และยังสามารถนำกลับมาใช้งานได้ใหม่อีกครั้ง ในกรณีที่ต้องการปรับปรุงพื้นที่
99 กก.
ซีเมนต์
1.เตรียมพื้นดิน โดยขุดเปิดหน้าดินลึกประมาณ 10-15 ซม. และกำจัดขยะหรือหญ้าออกจากพื้นที่ให้หมด
2.ปรับระดับ โดยปรับพื้นที่ที่จะปูบล็อกให้เรียบสม่ำเสมอ และ ตบอัดด้วยเครื่องตบอัดให้แน่นเพื่อป้องกันการเกิดปัญหาสินค้าทรุดตัวหลังการใช้งาน
3.วางขอบ โดยสามารถเลือกได้ทั้งขอบคันหิน ขอบตกแต่ง หรือ ขอบฝังดิน ในบริเวณขอบของพื้นที่เพื่อกำหนดขอบเขตและป้องกันการแยกตัวของแนวบล็อก
4.ใช้ทรายหยาบเทปรับระดับพื้นอีกครั้งให้มีความหนาเมื่อตบอัดแล้วประมาณ 3-4 ซม. และ ใช้เครื่องตบอัด ตบให้แน่นทั่วบริเวณ
5.เริ่มปูบล็อก โดยทำการปูบล็อกเริ่มจากมุมใดมุมหนึ่ง หรือ จุดกึ่งกลาง (กรณีลายวงกลม) และ ต้องมีการคัดแนวเป็นระยะๆ ทุกๆ 10-15 ตร.ม.
6.เมื่อปูบล็อกเต็มพื้นที่แล้วให้โรยทรายละเอียดลงในช่องว่างระหว่างก้อนบล็อกให้เต็ม แล้วใช้เครื่องตบอัด
7.ลงน้ำยาเคลือบผิวบล็อก (ลงน้ำยาประสานทรายในบริเวณร่องบล็อก) ในบริเวณร่องบล็อก เพื่อให้ทรายและก้อนบล็อกยึดติดกัน ไม่ฟุ้งกระจายเมื่อมีลมพัด และ ช่วยทำให้บล็อกมีความคงทนแข็งแรงด้วย หลังจากนั้นทิ้งไว้จนแห้งแล้วจึงลงน้ำยาเคลือบเงาผิวคอนกรีตเพื่อสร้างความสดใสให้กับผิวบล็อก
สำหรับการปูพื้นที่ต้องรับน้ำหนัก เช่น ที่จอดรถ , ทางรถวิ่งผ่าน
◦พื้นเดิมต้องเป็นพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก
◦ใช้สายเอ็นในการกำหนดระดับพื้น และแนวในการปูแผ่นกระเบื้อง โดยขึงสายเอ็นให้ได้ระดับตามแบบที่กำหนด
◦เทปูนทราย (Mortar) ในบริเวณพื้นที่ที่ต้องการ ปู เกลี่ย และ ปาดให้เสมอ เพื่อใช้ปรับระดับแผ่นให้เสมอกัน
◦เริ่มปูแผ่นแรกตรงจุดที่กำหนดตามแนวเส้นเอ็นที่ทำมุมฉากไว้ และ ปูแผ่นต่อไปตามแนวเส้นเอ็นทั้งแนวตั้งและแนวนอน เพื่อใช้เป็นแนวหลัก การปูให้ปูชนชิดไม่ต้องยาแนว
◦ตรวจสอบระยะทุกๆ แนวในการปู
◦ลงน้ำยาเคลือบเงาผิวคอนกรีตเพื่อสร้างความสดใสให้กับผิวกระเบื้องคอนกรีต นอกจากนี้ยังช่วยให้การดูแลรักษาความสะอาดผิวกระเบื้องคอนกรีตง่ายขึ้นอีกด้วย